
หนึ่งในโปรเจคน่าตื่นเต้นที่สุ[removed]ดของกรุงเทพฯ ในต้นปีนี้เห็นจะหนีไม่พ้[removed]นการเปิดตัวของศูนย์การเรียนรู้ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่เป็นการปรับเปลี่ยนโรงพิมพ์[removed]ธนบัตรเก่าแก่กว่า 50 ปี ให้กลายเป็นพื้นที่แห่งการเรี[removed]ยนรู้ที่มีทั้งศูนย์การเรียนรู้ ห้องสมุด นิทรรศการ co-working space ห้องประชุม auditorium พิพิธภัณฑ์เงินตรา รวมพื้นที่กว่า 12,900 ตารางเมตร
เหตุผลที่พื้นที่ปิดร้างริมน้ำ[removed]แห่งนี้ถูกปัดฝุ่นให้ใช้ประโยชน์ขึ้นอี[removed]กครั้งนั้นมาจากวิสัยทัศน์[removed]ของธนาคารแห่งประเทศไทยที่เพิ่งฉลองวาระแห่งการก่อตั้[removed]งครบ 75 ปีมาหมาดๆ เล็งเห็นศักยภาพของพื้นที่ว่าจะสามารถเป็นพื้นที่[removed]ที่เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้[removed]สำหรับทุกคน โดยเฉพาะกับเรื่องเศรษฐกิ[removed]จการเงิน ซึ่งถือเป็นเรื่องสำคัญในชีวิ[removed]ตประจำวันของทุกคนที่ต้องเกี่[removed]ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินอยู่ทุ[removed]กเมื่อเชื่อวัน
ดังนั้นการออกแบบพื้นที่แบบบู[removed]รณาการ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่[removed]ทางแบงก์ชาติวางแผนด้วยวิสัยทั[removed]ศน์ไว้ ให้เป็[removed]นศูนย์การเรียนรู้ชั้นนำแห่งหนึ่[removed]งของประเทศ
ฉีกกรอบการเรียนรู้
อีกหนึ่งการพัฒนาที่สำคัญของเมื[removed]องใหญ่ทั่วโลกคือการให้ความสำคั[removed]ญกับการสร้างพื้นที่แลกเปลี่[removed]ยนความรู้ ซึ่งไม่ใช่แค่การเปิดแค่ห้องสมุ[removed]ดให้คนเข้ามาอ่านหนังสือเท่านั้[removed]น แต่ยังต้องสร้างสภาพแวดล้อมที่[removed]เอื้อต่อการเรียนรู้ ดังนั้นศูนย์การเรียนรู้ที่มีพื้[removed]นที่การใช้งานหลากหลายเหมาะกั[removed]บกลุ่มคนหลากหลายแบบจะยิ่งช่[removed]วยกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่[removed]ยนเรียนรู้ระหว่างกัน และต่อยอดองค์ความรู้ที่มีอยู่[removed]ให้แตกแขนงออกไป ก็จะยิ่งขับเคลื่อนพลังแห่[removed]งความคิดสร้างสรรค์ให้ทุ[removed]กคนไปได้ไกลกว่าเดิม
และเมื่อหนึ่งในสถาบันที่มี[removed]ความสำคัญกับการพัฒนาประเทศอย่[removed]างธนาคารแห่งประเทศไทย ตัดสินใจสร้างพื้นที่เพื่อแบ่[removed]งปันความรู้ด้านเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ และองค์ความรู้ด้านการเงิน นี่จึงเป็นโอกาสสำคัญที่[removed]เราจะได้เรียนรู้เรื่องการเงิ[removed]นในแบบที่แตกต่างไป
“จริงๆ แล้วความรู้มีอยู่ทุกที่ แต่หากเราทำสร้างพื้นที่ให้[removed]การเรียนรู้กลายเป็นชีวิ[removed]ตประจำวันได้ คนก็จะไม่รู้สึกว่าการเรียนรู้[removed]เป็นเรื่องยาก จริงๆ มันเป็นเรื่องของการสร้างวั[removed]ฒนธรรมการเรียนรู้ เพราะเวลาเราได้ดูนิทรรศการดีๆ หรือพิพิธภัณฑ์ดีๆ ก็ถือเป็ นการเลือกหยิบประเด็[removed]นความรู้มาพูดในบริบทอื่[removed]นนอกเหนือจากตำรา ทำให้คนสามารถเข้ามาดู และ sharing หรือแบ่งปันความรู้ให้กันได้” คุณประภากร วรรณกนก ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมความรู้[removed]ทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ดูแลศูนย์แห่งนี้เล่าแนวคิ[removed]ดของการสร้างศูนย์การเรียนรู้[removed]แบบบูรณาการให้ฟัง
จากพื้นที่ปิดสู่พื้นที่สาธารณะ
การปรับเปลี่ยนพื้นที่อาคารซึ่[removed]งเคยเป็นโรงพิมพ์ธนบัตรอายุ 48 ปีซึ่งเคยเป็นพื้นที่ปิดที่ต้[removed]องรักษาความปลอดภัยอย่างแน่[removed]นหนาที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ ให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะทุ[removed]กคนสามารถเข้าถึงได้ไม่ใช่เรื่[removed]องง่าย เพราะหากดูทั่วโลกแล้ว ธนาคารกลางถือเป็นหนึ่งในสถานที่[removed]หวงห้าม รักษาความปลอดภัยสูงสุด
“การเปิดพื้นที่รับประชาชนทั่[removed]วไปก็ถือเป็นความท้าทายแล้ว แต่ความท้าทายอีกประการคือการที่[removed]เราต้องออกแบบพื้นที่ภายในให้[removed]เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายของเรา คือการบูรณาการพื้นที่ให้มีทั้[removed]งห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ ซึ่งแค่สองอย่างนี้ก็ทำหน้าที่[removed]ต่างกันแล้ว” คุณประภากรเผย
ความโดดเด่นคือตรงกลางจะมี[removed]โครงสร้างของ “ห้องมั่นคง” ห้องนิรภัยสูง 5 ชั้นซึ่งเคยใช้เป็นที่เก็บธนบั[removed]ตร ที่ไล่เรียงความสูงมาตั้งแต่ห้[removed]องใต้ดิน ซึ่งอยู่ที่ความลึกใต้ผิวน้ำถึง 12 เมตรในชั้น B1 และ B1 ซึ่งตอนนี้แปรเปลี่ยนเป็นห้องจั[removed]ดแสดงนิทรรศการเงินตราที่จั[removed]ดแสดงประวัติศาตร์การแลกเปลี่[removed]ยนเงินตราตั้งแต่ยุคโบราณจนถึ[removed]งยุคปัจจุบัน
กำแพงหนาเกือบ 1 เมตร และประตูเหล็กหนาอีกเกือบครึ่[removed]งเมตร ตลอดจนกระเบื้องโมเสคที่นำเข้[removed]ามาจากต่างประเทศยังคงถูกเก็[removed]บไว้ให้เราได้เห็นประวัติศาสตร์[removed]ของสถานที่ รวมทั้งตัวเครื่องพิมพ์ธนบั[removed]ตรเก่าที่ยังคงเก็บไว้ทั้ง 3 เครื่อง ซึ่งในหลายประเทศรื้อเป็[removed]นเศษเหล็กไปหมดแล้ว
ส่วนชั้น 2 นั้นคือห้องสมุดและนิ[removed]ทรรศการพระองค์เจ้าวิวัฒนไชย ซึ่งมีหนังสือเป็นหมื่นเล่ม ทั้งหนังสือทั่วไปไปจนถึงหนังสื[removed]อเกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจการเงิ[removed]นไว้ให้สำหรับคนที่ต้องการเรี[removed]ยนรู้เรื่องนี้ให้มากขึ้น โดยชั้นเดียวกันยังมีนิ[removed]ทรรศการเรื่องเล่าธนาคารแห่[removed]งประเทศไทย และนิทรรศการโรงพิมพ์ธนบัตร ก่อนเดินขึ้นไปชั้น 3 ที่มีห้องประชุม co-working space
และสิ่งที่เพิ่มความสดใสให้กั[removed]บสถานที่คือการทุบคอนกรีตด้[removed]านนอกตัวอาคารและแทนที่ด้[removed]วยกระจกใสจากพื้นจรดเพดานสูง เปิดโอกาสให้แสงธรรมชาติลอดเข้[removed]ามาสร้างบรรยากาศอบอุ่นให้กับพื้[removed]นที่
เข้าถึงอย่างเท่าเทียม
นอกเหนือจากการปรับปรุ[removed]งและออกแบบพื้นที่ให้เหมาะแก่[removed]การเรียนรู้แล้ว แบงก์ชาติยังเล็งเห็นความสำคั[removed]ญของความเท่าเทียม จึงได้ออกแบบสถานที่ และนิทรรศการภายในให้เอื้อต่[removed]อการเข้ามาใช้สถานที่ของคนพิการ
“นี่คือบริบทหนึ่งที่สำคัญสำหรั[removed]บพื้นที่สาธารณะ คือเราก็ต้องให้ความเท่าเที[removed]ยมแก่ทุกคน ยิ่งในแง่ของการเป็นแหล่งเรี[removed]ยนรู้ คือการเปิดโอกาสให้ทุกคนได้เข้[removed]ามาเรียนรู้ได้อย่างความเท่าเที[removed]ยมคือเรื่องที่สำคัญ” ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมค วามรู้[removed]ทางการเงินย้ำ
การออกแบบไม่เพียงแต่แค่[removed]ทำทางลาดให้เหมาะสมสำหรับรถวี[removed]ลแชร์เท่านั้น แต่ในเนื้อหาของนิทรรศการยังมี[removed]การใส่อักษรเบรลล์อธิบายเนื้[removed]อหาสำหรับผู้พิการทางสายตา หรือมีเครื่องช่วงฟังคอยอธิบาย นอกจากนี้ การจัดแสดงชิ้นงานต่างๆ จะมีการวางให้ต่ำพอที่วีลแชร์[removed]จะสามารถดูได้อย่างสบาย รวมทั้งสามารถเข็นเข้าไปดูใกล้ๆ โดยมีติดฐานรองด้วย
รู้หรือไม่: Uber ได้เปิดใช้บริการ uberASSIST เพื่อให้บริการสำหรับคนพิการ และผู้สูงอายุ ให้เดินทางไปไหนมาไหนในเมื[removed]องสะดวกยิ่งขึ้น โดยจะคัดเลือกคนขั[removed]บมากประสบการณ์มาให้บริ[removed]การโดยเฉพาะ บริการนี้เหมาะสมสำหรับ ผู้สูงอายุ คนพิการแบบวีลแชร์ คนตาบอด คนหนูหนวก และพิการด้านอื่นๆ โดยคิดค่าบริการแบบปกติ ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
ทักษะการเงิน = ทักษะชีวิต
เมื่อพูดเรื่องเศรษฐกิจ การเงิน หลายคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่[removed]องไกลตัว แต่จริงๆ แล้ว การที่เราหยิบเงินออกจากกระเป๋า หรือหยิบแอพมาเรียกรถและจ่ายเงิ[removed]นด้วยบัตรเครดิต หรือทำธุรกรรมโอนเงินผ่านมือถือ ก็ล้วนแต่เป็นเรื่องการเงินที่[removed]เราใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
สำคัญคือเราจะเรียนรู้ทั[removed]กษะการใช้เงินให้เหมาะกับชีวิ[removed]ตตัวเองได้อย่างไรนั้น เป็นเรื่องที่เราต้องค่อยๆ เรียนรู้
“จริงๆ ความรู้เรื่องการเงินเป็นเรื่[removed]องของทักษะการใช้ชีวิตประจำวั[removed]นที่ทุกคนควรเรียนรู้เช่นเดี[removed]ยวกับเรื่องอื่นๆ และที่ผ่านมาคนทั่วไปไม่ค่อยรู้[removed]ว่าจริงๆ แล้วภารกิจหลักของแบงก์ชาติคื[removed]อการดูแลระบบเศรษฐกิจและการเงิ[removed]นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวั[removed]นของทุกคน ดูแลระบบการชำระเงิน เพราะว่าจริงๆ แล้วการค้าการขายการใช้จ่ายทุ[removed]กวันมันขึ้นอยู่กั[removed]บระบบการชำระเงิน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้[removed]ระบบเศรษฐกิจเดินไปได้ พร้อมกับบริหารนโยบายการเงิน ดูแลอัตราเงินเฟ้อที่เชื่[removed]อมโยงกับชีวิตการใช้จ่ายประจำวั[removed]นของทุกคน” คุณประภากรแจกแจงให้ฟัง
“ที่สำคัญ เรามีบุคลากรที่มีความรู้[removed]ความสามารถที่จะมาสร้างองค์[removed]ความรู้ในเรื่องนี้ได้ ศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้จึ[removed]งตอบโจทย์ภารกิจแบงก์ชาติ[removed]ในการสร้างองค์ความรู้ที่เกี่[removed]ยวกับด้านเศรษฐกิจการเงินให้กั[removed]บทุกคน”
ยิ่งตอนนี้เรากำลังก้าวสู่ aging society หรือสังคมผู้สูงอายุ ดังนั้นการให้ความรู้เรื่[removed]องการวางแผนทางการเงิน และออมเงินยิ่งเป็นสิ่งที่เราต้[removed]องให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ความเสี่[removed]ยงด้านธุรกรรมทางการเงิน เช่นเรื่องการเปลี่ยนพาสเวิร์ด การใช้ระบบอีเลคทรอนิกส์การเงิ[removed]นในรูปแบบต่างๆ
นอกจากนี้ที่ศูนย์ยังเล็งจะเป็[removed]นพื้นที่เรียนรู้และเชื่อมต่อกั[removed]นระหว่างกลุ่มคนที่ทำงานด้าน disruptive business และ technology ให้มาแชร์ความรู้ในเรื่อง fin-tech หรือนวัตกรรมทางการเงินที่กำลั[removed]งเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าการเงิ[removed]นการธนาคารของไทยในยุคปัจจุบัน ไม่นับรวมธุรกิจใหม่ๆ ที่เกิดจากนวัตกรรมที่เปลี่[removed]ยนแปลงชีวิตผู้คน รวมทั้ง Uber ที่เปลี่ยนแปลงโฉมหน้าระบบขนส่[removed]งในเมืองด้วย
ที่สำคัญ แบงก์ชาติยังหวังให้ที่นี่เป็[removed]นแหล่งเรียนรู้และสร้างแรงบั[removed]นดาลใจให้กับทุกคนมาค้นหาความรู้[removed]และเรียนรู้ประวัติศาสตร์การเงิ[removed]นพร้อมสร้า งการเปลี่ยนแปลงให้กั[removed]บประเทศต่อไป
ที่อยู่: 273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร: 02-356-7766
ค่าบริการ: เปิดให้ใช้บริการฟรีถึงเดือนมิ.ย.นี้
โพสต์โดย Uber Editor